| |
ธรรมที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสัมภิทาญาณ ๘ ประการ   |  

๑. ปุพพะโยโค การเป็นผู้มีความเพียรที่ได้บำเพ็ญมาแล้วในสมัยพระพุทธเจ้าในปางก่อน

๒. พาหุสัจจัง ความเป็นพหูสูต เป็นผู้มีประสบการณ์เรียนรู้มามาก ได้ยินได้ฟังมามาก ทรงจำไว้ได้มาก

๓. เทสะภาสา การเป็นผู้มีความรู้ในภาษาต่าง ๆ มาก ทั้งภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ

๔. อาคะโม การเป็นผู้ได้ศึกษาเล่าเรียนในพระพุทธวจนะมามาก

๕. ปะริปุจฉา การเป็นผู้หมั่นสอบสวนทวนถามข้อสงสัยอยู่เสมอ

๖. อะธิคะโม การได้บรรลุอริยภูมิ คือ อริยมรรค อริยผล

๗. คะรุสันนิสสะโย การได้อยู่อาศัยครูผู้เชี่ยวชาญในพระปริยัติ

๘. มิตตะสัมปัตติ การได้ครูผู้เชี่ยวชาญเป็นกัลยาณมิตร


เกี่ยวกับตำราอภิธรรม ออนไลน์ (Disclaimer)
ตำราอภิธรรมออนไลน์ พัฒนาขึ้นโดยความร่วมมือของอภิธรรมมหาวิทยาลัย วัดระฆังฯ วัดญาณเวศกวัน และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เพื่อนำเสนอสื่อธรรมสำหรับการศึกษาค้นคว้า โดยได้รับอนุญาต และเอกสารต้นฉบับจากผู้เขียน ดังนี้
(๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๒), จิตปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๒) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๖), เจตสิกปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๓) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๖๓), รูปปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๖, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ผู้สนใจศึกษาสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ และหลักสูตรการศึกษาได้ที่ สำนักงานอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร (คณะ ๗) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร ๐๒ ๔๑๑ ๔๕๔๖, ๑๒ ๔๑๒ ๑๐๘๔, ๐๘๖ ๐๓๘ ๒๙๓๓


  |