| |
องค์แห่งอทินนาทาน ๕ ประการ   |  

๑. ปะระปะริคคะหิตัง ของนั้นมีเจ้าของหวงแหน

๒. ปะระปะริคคะหิตะสัญญ รู้ว่าเจ้าของหวงแหน

๓. เถยยะจิตตัง มีจิตคิดจะลัก

๔. ตัสสะ วายาโม พยายามเพื่อจะลัก

๕. เตนะ อาทาตัพพัง อาทานัง ลักสิ่งของนั้นสำเร็จมาได้ด้วยความพยายามนั้น

เมื่อครบองค์ ๕ เหล่านี้ย่อมเป็นอันล่วงกรรมบถแห่งอทินนาทาน ถ้าไม่ครบองค์ทั้ง ๕ นี้ จัดเป็นแต่ศีลด่าง ศีลพร้อย หรือศีลทะลุ อย่างใดอย่างหนึ่ง เมื่อบุคคลได้รู้และเข้าใจองค์ประกอบของอทินนาทาน และรู้ถึงโทษของอทินนาทานตามความเป็นจริงโดยโยนิโสมนสิการแล้ว ย่อมสามารถงดเว้นจากอทินนาทานนี้ได้


เกี่ยวกับตำราอภิธรรม ออนไลน์ (Disclaimer)
ตำราอภิธรรมออนไลน์ พัฒนาขึ้นโดยความร่วมมือของอภิธรรมมหาวิทยาลัย วัดระฆังฯ วัดญาณเวศกวัน และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เพื่อนำเสนอสื่อธรรมสำหรับการศึกษาค้นคว้า โดยได้รับอนุญาต และเอกสารต้นฉบับจากผู้เขียน ดังนี้
(๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๒), จิตปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๒) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๖), เจตสิกปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๓) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๖๓), รูปปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๖, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ผู้สนใจศึกษาสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ และหลักสูตรการศึกษาได้ที่ สำนักงานอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร (คณะ ๗) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร ๐๒ ๔๑๑ ๔๕๔๖, ๑๒ ๔๑๒ ๑๐๘๔, ๐๘๖ ๐๓๘ ๒๙๓๓


  |