| |
วิธีสังเกตพิจารณาดูจริต   |  

พระโยคีบุคคลพึงสังเกตพิจารณาดูจริตโดยอาการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

๑. อิริยาบถ ได้แก่ การเดินยืนนั่งนอนและการเคลื่อนไหวทำกิจการงานต่าง ๆ

๒. กิจจะ ได้แก่ ลักษณะงานที่ทำอยู่สม่ำเสมอ

๓. โภชนะ ได้แก่ อาหารที่บริโภคอยู่เป็นประจำ

๔. ทัสสนะ ได้แก่ สิ่งที่ชอบดูชอบชม

๕. ธัมมปวัตติ ได้แก่ ความเป็นไปในธรรมต่าง ๆ เป็นต้นว่า ความประพฤติดี หรือเลว

เพราะฉะนั้น การที่บุคคลจะรู้ว่าตนเองมีจริตอย่างไร หรือบุคคลแต่ละคนนั้นจะมีจริตอย่างไร ต้องใช้ปัจจัยเหล่านี้เป็นเครื่องกำหนดพิจารณา จึงจะสามารถตั้งข้อสันนิษฐานและตัดสินได้ว่าบุคคลนั้นมีจริตหนักไปในทางไหน

แสดงรายละเอียดของจริตแต่ละอย่าง





อนึ่ง ในคัมภีร์ปกรณ์วิเสสวิสุทธิมัคค์ ท่านพระพุทธโฆษาจารย์ได้แสดงลักษณะแห่งจริตต่าง ๆ เป็นเครื่องพิจารณาเพิ่มเติมดังต่อไปนี้


เกี่ยวกับตำราอภิธรรม ออนไลน์ (Disclaimer)
ตำราอภิธรรมออนไลน์ พัฒนาขึ้นโดยความร่วมมือของอภิธรรมมหาวิทยาลัย วัดระฆังฯ วัดญาณเวศกวัน และ หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ เพื่อนำเสนอสื่อธรรมสำหรับการศึกษาค้นคว้า โดยได้รับอนุญาต และเอกสารต้นฉบับจากผู้เขียน ดังนี้
(๑) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๒), จิตปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๑, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๒) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๕๖), เจตสิกปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๒, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
(๓) พระมหาชินวัฒน์ จกฺกวโร (๒๕๖๓), รูปปรมัตถ์: คู่มือศึกษาอภิธัมมัตถสังคหะ ปริเฉจที่ ๖, พิมพ์ครั้งที่ ๑.
ผู้สนใจศึกษาสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับหนังสือ และหลักสูตรการศึกษาได้ที่ สำนักงานอภิธรรมมหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย วัดระฆังโฆษิตารามวรมหาวิหาร (คณะ ๗) แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ ๑๐๗๐๐ โทร ๐๒ ๔๑๑ ๔๕๔๖, ๑๒ ๔๑๒ ๑๐๘๔, ๐๘๖ ๐๓๘ ๒๙๓๓


  |